วันเสาร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2554

ข่ายงานสื่อสารข้อมูล

ข่ายงานสื่อสารข้อมูล
1.1 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
        เครือข่าย (network) ในทางสื่อสารโทรคมนาคมมีหลายชนิดด้วยกันซึ่งเครือข่ายแต่ละชนิดก็จะมีคุณสมบัติที่แตกต่างกันในส่วนต่อไปนี้จะได้กล่าวถึงพื้นฐานของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

        1.1.1 เครือข่ายคอมพิวเตอร์คืออะไร
         เครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือการต่อคอมพิวเตอร์หลายตัวให้ถึงกันโดยผ่านตัวกลางที่เรียกว่า media และใช้โปรแกรมจัดการ เรียกว่า Network Operating System (NOS)   เป็นตัวควบคุมการรับส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์แต่ละตัว

        1.1.2 องค์ประกอบของเครือข่าย
         องค์ประกอบพื้นฐานของ เครือข่าย มีดังนี้
            1. สิ่งที่ให้บริการเครือข่าย (service provider)
            2. สิ่งที่ใช้บริการเครือข่าย (service user)
            3.ตัวกลางที่ทำให้ device สามารถสื่อสารกันได้ (communication facilitators)

        1.1.3 server provide service
         เป็นที่รู้จักกันมานานแล้วว่า ผู้ให้บริการบนเครือข่าย มักจะถูกเรียกว่า server ขึ้นอยู่กับว่า server ตัวนั้นให้บริการอะไรถ้า  server  นั้นให้บริการ  file  จะถูกเรียกว่า  file server หรือ  server นั้น ให้บริการด้านงานพิมพ์ก็จะถูกเรียกว่า printer server ดังนั้นการให้บริการพื้นฐานของเครือข่าย จึงมี 3 บริการคือ
            1.ให้บริการการใช้งาน files ร่วมกัน (sharing access to file)
            2.ให้บริการการใช้งาน printer ร่วมกัน
            3.ให้บริการการใช้งาน device อื่นๆ ร่วมกัน เช่น MODEM, FAX ก็เรียกว่า FAX service
         peer  to  peer  network เป็นการ  share   file  และ printer สามารถทำได้บนเครือข่ายขนาดเล็กที่เรียกว่า peer to peer ซึ่งเครือข่ายแบบนี้สามารถที่จะ  share  hard  disk  และ printer ของ  device ทุกตัวที่ต่อถึงกันแต่ เครือข่ายแบบนี้ก็มีข้อเสีย  คือ   ไม่มีตัวกลางสำหรับเก็บข้อมูล  user  และ ระบบ security dedicate server เป็น centralized server ทำหน้าที่ให้บริการ file หรือ printer โดยเฉพาะ

         1.1.4 CLIENT USE SERVICE
          client แปลว่าการร้องขอ  client เป็นตัวขอใช้บริการ file และ printer จาก server  ซึ่งโดยปกติ client จะเป็น computer ที่สามารถต่อเชื่อมเข้าสู่เครือข่ายได้และการใช้งานคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายที่มีตัวร้องขอใช้บริการและตัวให้บริการเราจึงเรียกระบบนี้ว่า client/server computing


1.2 ประเภทของเครือข่าย

         เครือข่ายแบ่งตามระยะทางของการติดต่อ แบ่งออกได้ดังต่อไปนี้

        1.2.1 เครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network: LAN)
         เป็นเครือข่ายที่ใช้กันอยู่ในบริเวณไม่กว้างนัก อาจใช้อยู่ภายในอาคารเดียวกันหรืออาคารที่อยู่ใกล้กัน เช่น ภายในมหาวิทยาลัย ภายในอาคารสำนักงานในคลังสินค้า หรือในโรงงาน เป็นต้น การส่งข้อมูลทำได้ ด้วยความ เร็วสูงและมีข้อผิดพลาดน้อย   LAN  จึงออกแบบมาเพื่อช่วยลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพในการ   ใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกัน

        1.2.2 เครือข่ายระยะไกล (Wide Area Network: WAN)
         เครือข่ายระยะไกล หรือ internetworking  เป็นเครือข่ายที่ติดตั้งใช้งานอยู่ในบริเวณกว้าง เช่น เครือข่ายที่ติดตั้งไปยังต่างจังหวัด , ต่างประเทศ และทั่วโลก

        1.2.3 ข้อเปรียบเทียบ client/server computing และ terminal/host computing
         ในสมัยก่อนที่มีการใช้งานเครือข่ายแบบ  terminal/host computing  ตัว terminal จะเป็นตัวรับ input จาก user และแสดงผลให้แก่ user แต่เพียงเท่านั้น ไม่มีการคำนวณหรือ  process  อื่น ๆ บน terminal  เลยการคำนวณ และการ process ต่างๆ ที่จะทำบน central mainframe ทั้งหมด
        - ยุคสมัยของ client/server   computing   ในตัว   client   จะมีความสามารถพอที่จะทำการคำนวณและ process  หรือ run application ได้บนตัว   client   จึงเป็นการแบ่งเบาภาระไป และไม่ทำให้งานไปหนักอยู่กับคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่ง
        - client ถ้าใน netware จะเรียกว่า work station

        1.2.4 Communication media interconnect server and client
         ตัวกลางที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระหว่าง server และ client ให้เกิดการสื่อสารถึงกันได้เรียกว่า medium หรือ media ตัวอย่างของ medium ก็ได้แก่ copper cable, fiber optic cable, micro wave link, หรือ satellite link เป็นต้น

 1.3.1 NOS คืออะไร
        NOS คือ software ที่ run อยู่บนเครือข่าย เพื่อควบคุมการทำงานของ device ต่างๆ บนเครือข่ายซึ่ง NOS ที่ดีต้องมีความสามารถในการให้บริการ files และ printers แล้วยังต้องสามารถให้บริการ user ได้หลายๆ คนในเวลาเดียวกันด้วย (multi tasking, multi user) นอกจากนั้น NOS ยังต้องให้บริการด้านความปลอดภัยของข้อมูลภายในเครือข่ายได้ด้วย ตัวอย่างของ NOS เช่น windows NT server, NOVELL netware, windows XP, windows 2000 เป็นต้น

                1.3.1.1 Other server service
                 การบริการอื่นๆ ของ server อาจแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท คือ
                      1. mail server ทำหน้าที่ให้ user สามารถ เปลี่ยน (ส่ง และ รับ) electronic mail ระหว่างกันได้
                      2. MODEM server ทำให้ user สามารถใช้ MODEM ส่วนกลางร่วมกันได้โดยไม่ต้องซื้อ MODEM หลาย ๆ ตัวสำหรับหลาย user
                      3. FAX server ทำให้ user สามารถส่ง FAX ได้จาก application โดยไม่ต้องพิมพ์ออกมาให้สิ้นเปลืองกระดาษ และใช้ FAX ส่วนร่วมเพื่อประหยัดงบประมาณ
                      4. gateway server ทำหน้าที่ communicate กับ main frame หรือ mini computer หรือเครือข่ายภายในอินเตอร์เนทเป็นต้น

        1.3.2 รูปแบบอ้างอิง OSI (OSI refference model) Open System Interconnection (OSI)                 เป็น MODEL ที่พัฒนาขึ้นมาโดย International Standard Organization (ISO) OSI เป็นโครงสร้างที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย สำหรับเปรียบเทียบเครือข่าย ทางทฤษฎี OSI model แบ่งออกเป็น 7 เลเยอร์ ดังรูปที่ 1.1 แต่ละเลเยอร์นั้นจะประกอบกันเป็นพื้นฐานเพื่อเป็นแนวความคิดในการออกแบบระบบ และการนำระบบไปใช้งาน ซึ่ง OSI model จะอธิบายกระบวนการติดต่อสื่อสารตามลำดับชั้นของแต่ละเลเยอร์ และแต่ละเลเยอร์ จะกำหนดการติดต่อกับเลเยอร์ที่ติดกัน ซึ่งการติดต่อเหล่านั้นมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้ผู้ออกแบบระบบใช้โปรโตคอลได้หลายแบบโดยที่ระบบยังอยู่ในมาตรฐาน จึงทำให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่มีการออกแบบทาง hardware และ software ตามโครงสร้างมาตรฐานนี้สามารถต่อเป็นเครือข่ายร่วมกัน และติดต่อสื่อสารกันได้
    1.3.2.1 หลักเกณฑ์ที่ใช้แบ่งเลเยอร์ใน OSI
                   จุดมุ่งหมายของการกำหนดมาตรฐานรูปแบบ OSI ขึ้นมานั้นก็เพื่อเป็นการกำหนดการแบ่งโครงสร้าง ของสถาปัตยกรรมเครือข่ายออกเป็น เลเยอร์ ๆ และกำหนดหน้าที่การทำงานในแต่ละเลเยอร์ รวมถึงกำหนด รูปแบบการอินเตอร์เฟสของเลเยอร์ด้วย เหตุผลที่ต้องแบ่งเลเยอร์ทั้งหมดให้มี 7 เลเยอร์นั้น องค์การ ISO ได้ใช้หลักเกณฑ์ดังนี้
                       1. ไม่แบ่งโครงสร้างออกเป็นเลเยอร์ๆ มากจนเกินไป
                       2. แต่ละเลเยอร์จะต้องมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกันทั้งขบวนการและเทคโนโลยี
                       3. จัดกลุ่มหน้าที่การทำงานที่คล้ายกันให้อยู่ในเลเยอร์เดียวกัน
                       4. เลือกเฉพาะส่วนการทำงานที่เคยใช้ได้ผลประสบความสำเร็จมาแล้ว
                       5. กำหนดหน้าที่การทำงานเฉพาะง่ายๆ แก่เลเยอร์ เผื่อว่าต่อไปถ้ามีการออกแบบเลเยอร์ใหม่ หรือมีการเปลี่ยนแปลง โปรโตคอลใหม่ในอันที่จะทำให้ สถาปัตยกรรมมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น จะไม่มีผลทำให้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์ ที่เคยใช้ได้ผลอยู่เดิมจะต้องเปลี่ยนแปลงตาม
                       6. กำหนดอินเตอร์เฟสมาตรฐาน
                       7. ให้มีความยืดหยุ่นในการเปลี่ยนแปลงโปรโตคอลในแต่ละเลเยอร์
                       8. สำหรับเลเยอร์ย่อยของแต่ละเลเยอร์ให้ใช้หลักเกณฑ์เดียวกันกับที่กล่าวมาใน 7 ข้อแรก

วันศุกร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2554

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ


                                                                  ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ             

จุดประสงค์ของการเรียน
1.               เกิดความรู้ความเข้าใจในแนวคิดเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะได้อย่างกว้างขวาง

2.               สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างนโยบายสาธารณะและการดำเนินงานของรัฐบาลได้
3.               สามารถวิเคราะห์ได้ว่าใครเป็นผู้กำหนดนโยบายสาธารณะและกำหนดโดยใช้หลักเกณฑ์ใด

4.               สามารถอธิบายขั้นตอน/กระบวนการต่างๆของนโยบายสาธารณะได้
5.               ทำให้ทราบประสิทธิภาพและประสิทธิผลของสถาบันทางการเมืองและรัฐบาล

6.               ทำให้เรียนรู้วิธีการวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล
ความสำคัญในการศึกษานโยบายสาธารณะ
1. พิจารณาจากพัฒนาการในการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์โดยดูจากพาราไดม์ทางรัฐประศาสนศาสตร์ ตามทัศนะของ Nicholas Henry
พาราไดม์ที่ 1

-                    การเมืองและการบริหารแยกออกจากกัน (The Politics / Administration Dichotomy)
-                    ฝ่ายการเมือง : กำหนดนโยบาย
-                    ฝ่ายบริหาร : นำนโยบายไปปฏิบัติให้สำเร็จ
พาราไดม์ที่ 2
-                    หลักการบริหาร (The Principles of Administration)
-                    POSDCORB
พาราไดม์ที่ 3
-                    รัฐประศาสนศาสตร์คือรัฐศาสตร์ (การบริหารคือการเมือง) (Public Administration as Political Science)
-                    ไม่สามารถแยกการเมืองและ    การบริหารออกจากกันได้โดยเด็ดขาด
พาราไดม์ที่ 4
-                    รัฐประศาสนศาสตร์คือการจัดการ
-                    ( Public Administration as Management)
พาราไดม์ที่ 5
-                    รัฐประศาสนศาสตร์คือรัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration as Public Administration) => New Public Administration
-                    Public Policy เป็นสาขาวิชาที่ได้รับความสนใจ
ความหมาย
-                    กิจกรรม/แนวทาง/หนทางในการกระทำของรัฐบาล
-                    แนวทางเลือกตัดสินใจของรัฐบาล
สาเหตุที่ต้องศึกษานโยบายสาธารณะ

-                    เพื่อสร้างความเข้าใจแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Understanding)
-                    เพื่อเรียนรู้วิธีการแก้ปัญหา (Problem Solving)
-                    เพื่อเสนอแนะนโยบาย (Policy Recommendations)
ปัจจัยและองค์ประกอบของนโยบาย
-                    ปัจจัยที่เป็นองค์ประกอบพื้นฐาน
-                    ปัจจัยที่เป็นสภาพแวดล้อม
ปัจจัยที่เป็นองค์ประกอบพื้นฐาน
-                    ผลประโยชน์
-                    ผู้กำหนดนโยบาย
-                    ข้อมูลเอกสารต่างๆ
ปัจจัยที่เป็นสภาพแวดล้อม
-                    ปัจจัยทางเศรษฐกิจ

-                    ปัจจัยทางการเมือง

-                    ปัจจัยทางสังคม

-                    ปัจจัยทางภูมิศาสตร์/ประวัติศาสตร์

-                    ปัจจัยทางด้านเทคโนโลยี
ประเภทของนโยบายสาธารณะ
-                    จำแนกตามเนื้อหาสาระ
-                    จำแนกตามมิติเวลา
-                    จำแนกตามสถาบัน
-                    จำแนกตามการดำเนินงานของรัฐบาล
-                    จำแนกในเชิงวิเคราะห์
การกำหนดนโยบาย (Policy Formulation)
การนำนโยบายไปปฏิบัติ (Policy Implementation)
-                    สมรรถนะของหน่วยงานที่รับผิดชอบนโยบาย
การประเมินผลนโยบาย (Policy Evaluation)
-                    ตรวจสอบการดำเนินนโยบาย
-                    เป็นข้อมูลย้อนกลับ     
-                    เป็นข้อมูลสำหรับการตัดสินใจ
การคงสภาพ การทดแทน และการสิ้นสุดนโยบาย (Policy maintenance , succession and termination)
Management Information System

ผศ. ดร. ชนวัฒน์ ศรีสอ้าน
คณบดี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศูนย์ สาทรธานี, . รังสิต

Thomas  หรือ  Tom Peters  ที่ปรึกษาด้านการจัดการที่มีชื่อเสียงชาวสหรัฐอเมริกากล่าว่า  ผู้บริหารที่เก่งยังทำผิดอยู่บ่อยครั้ง  การตัดสินใจที่ดีจะต้องอาศัยส่วนประกอบหลายอย่าง  เช่น  การฝึกฝน  ประสบการณ์  และวิสัยทัศน์ของผู้ตัดสินใจ  ตลอดจนข้อมูลที่นำมาประกอบการตัดสินใจในสถานการณ์นั้น ๆ
No information or not enough information for making decision
ความสำคัญ
การตัดสินใจของผู้บริหารมีผลต่อประสิทธิภาพในการดำเนินงาน  ความมั่นคง  และพัฒนาการขององค์การ  เนื่องจากผู้บริหารจะต้องตัดสินใจจัดสรรทรัพยากรขององค์การที่มีอยู่อย่างจำกัด  เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการใช้งาน  ตลอดจนต้องตัดสินใจแก้ปัญหาความขัดแย้งทั้งภายในและภายนอกองค์การ  ซึ่งเราจะเห็นความสำคัญได้จากงานวิจัยด้านการจัดการตั้งแต่ปี  1950  เป็นต้นมาที่ให้ความสนใจศึกษาเกี่ยวกับการตัดสินใจของผู้บริหารกับการดำเนินงานหรือการดำรงอยู่ขององค์การ
ทฤษฎีการจัดการกับการตัดสินใจ
Henri Fayol  ซึ่งเป็นชาวฝรั่งเศส  ได้กล่าวถึงหน้าที่หลักในการจัดการ  (management functions)  ไว้  5  ประการด้วยกันคือการวางแผน  (planning)  การจัดองค์การ  (organizing)  การประสานงาน  (coordinating)  การตัดสินใจ  (deciding)  และการควบคุม  (controlling)
ที่ Mintzberg  (.. 1971)  ได้กล่าวถึงบทบาททางการจัดการ  (manegerial roles)  ว่าเป็นกิจกรรมต่าง ๆ ที่ผู้จัดการสมควรจะกระทำขณะปฏิบัติหน้าที่ภายในองค์การ  โดยมีกิจกรรมเหล่านี้สามารถถูกจัดออกเป็น  3  กลุ่มคือ  บทบาทระหว่างบุคคล  (interpersonal roles)  บทบาททางสารสนเทศ  (informational roles)  และบทบาททางการตัดสินใจ  (decisional roles)
กระบวนการในการตัดสินใจ
ปัจจุบันความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสื่อสารและโทรคมนาคมทำให้ข้อมูลข่าวสารสามารถเดินทางได้อย่างคล่องตัวและเป็นอิสระมากขึ้น  ส่งผลให้องค์การต่าง ๆ สามารถรับ-ส่งข้อมูลข่าวสารและข้อสนเทศได้ในระยะเวลาที่สั้นลง  โดยข้อมูลมีความชัดเจน  ถูกต้อง  และสะดวกขึ้นด้วยเหตุนี้  ทำให้ธุรกิจในปัจจุบันมีความคล่องตัวในการดำเนินงานสูงขึ้นจนหลายคนถึงกับกล่าวว่าโลกธุรกิจในปัจจุบันหมุนเร็วกว่าโลกธุรกิจในอดีตมาก  ทำให้การตัดสินใจในโอกาสหรือปัญหาทางธุรกิจที่เกิดขึ้นจะต้องการทำภายใต้ข้อจำกัดทางสารสนเทศภายในระยะเวลาที่เหมาะสม  มีหลายครั้งที่ผู้บริหารจะต้องตัดสินใจอย่างรวดเร็วภายใต้ความกดดันของสถานการณ์  เช่น  การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน  การนัดหยุดงาน  หรือการต่อต้านจากสังคม  เป็นต้น  จึงนับว่ามีความจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับผู้บริหารที่จะประสบความสำเร็จในอนาคตที่จะต้องปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม  ตลอดจนต้องพยายามฝึกฝนตนเองโดยพัฒนาทักษะและสั่งสมประสบการณ์ในการตัดสินใจ  เพื่อที่จะสามารถวิเคราะห์และตัดสินใจเลือกทางเลือกต่าง ๆ ได้อย่างแม่นยำ  มีประสิทธิภาพ  และสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
ระดับของการตัดสินใจภายในองค์การ
ปกติเราสามารถแบ่งระดับชั้นของผู้บริหาร  (management levels)  ในลักษณะเป็นลำดับขั้น  (hierachy)  ซึ่งมีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมพีระมิด  (pyramid)  ตามหลักการบริหารที่ใช้กันอยู่ทั่วไปซึ่งสามารถประยุกต์กับการจำแนกระดับของการตัดสินใจของผู้บริหารภายในองค์การ  (levels of decision making)  ได้เป็น  3 ระดับดังต่อไปนี้

ระดับ 1.  การตัดสินใจระดับกลยุทธ์  (strategic decision making)  เป็นการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูงในองค์การ  ซึ่งจะให้ความสนใจต่ออนาคตหรือสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้น  อันได้แก่  การสร้างวิสัยทัศน์องค์การ  การกำหนดนโยบายและเป้าหมายระยะยาว  การลงทุนในธุรกิจใหม่  การขยายโรงงาน  เป็นต้น  การตัดสินใจระดับกลยุทธ์มักจะเกี่ยวข้องกับความไม่แน่นอนของสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้น  ซึ่งต้องอาศัยข้อมูลจากทั้งภายนอกและภายในองค์การ  ตลอดจนประสบการณ์ของผู้บริหารประกอบการพิจารณา
กับการจัดการ  เพื่อให้งานต่าง ๆ เป็นไปตามนโยบายของผู้บริหารระดับสูง  เช่น  การกำหนดยุทธวิธีทางการตลาด  การตัดสินใจในแผนการเงินระยะกลาง  หรือการแก้ไขปัญหาสำคัญที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดหวัง
ระดับ 2.  การตัดสินใจระดับยุทธวิธี  (tactical decision making)  เป็นหน้าที่ของผู้บริหารระดับกลาง  โดยที่การตัดสินใจในระดับนี้มักจะเกี่ยวข้องเป็นต้น

ระดับ 3.  การตัดสินใจระดับปฏิบัติการ  (operational decision making)  หัวหน้างานระดับต้นมักจะต้องเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจในระดับนี้  ซึ่งมักจะเป็นการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานเฉพาะด้านที่มักจะเป็นงานประจำที่มีขั้นตอนซ้ำ ๆ และได้รับการกำหนดไว้เป็นมาตรฐาน  โดยที่หัวหน้างานจะพยายามควบคุมให้งานดำเนินไปตามแผนงานที่วางไว้  เช่น  การมอบหมายงานให้พนักงานแต่ละคน  การวางแผนควบคุมการผลิตระยะสั้น  การวางแผนเบิกจ่ายวัสดุ  และการดูแลยอดขายประจำวัน  เป็นต้น

ระบบสารสนเทศกับการจัดการในระดับต่างๆ



เราจะเห็นว่าผู้จัดการในแต่ละระดับจะต้องตัดสินใจในปัญหาที่แตกต่างกัน  โดยผู้บริหารระดับสูงต้องตัดสินใจเกี่ยวกับอนาคตขององค์การ  ซึ่งยากต่อการพยากรณ์และทำความเข้าใจ  ผู้จัดการระดับกลางจะเป็นผู้ถ่ายทอดความคิดและนโยบายของผู้บริหารระดับสูงลงสู่ระดับปฏิบัติการ  โดยจัดทำแผนระยะยาวและควบคุมให้ผู้ใต้บังคับบัญชาดำเนินงานตามแนวทางที่กำหนด  ตลอดจนช่วยแก้ปัญหาที่ผู้ใต้บังคับบัญชาไม่สามารถกระทำได้  ขณะที่หัวหน้างานระดับปฏิบัติการจะตัดสินใจในปัญหาประจำวันของหน่วยงาน  ซึ่งเกี่ยวข้องกับปัจจัยภายนอกไม่มากนัก  และมีขั้นตอนการตัดสินใจที่ชัดเจนและไม่ซับซ้อนอย่างไรก็ตาม  การตัดสินใจของผู้จัดการในแต่ละระดับต่างมีลักษณะร่วมกันคือ ต้องการความถูกต้องชัดเจน  และทับต่อสถานการณ์  ดังนั้นผู้มีหน้าที่ตัดสินใจจึงต้องหมั่นพัฒนาความสามารถในการตัดสินใจของตนให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น



ข้อมูลและสารสนเทศ
1.   ข้อมูล (RAW DATA) ที่ถูกเก็บรวบรวมจากแหล่งต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์การ

2.   สารสนเทศ (INFORMATION) ผลลัพธ์ที่เกิดจากการประมวลผลข้อมูลดิบที่ถูกจัดเก็บไว้อย่างเป็นระบบ
คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี พบได้ดังต่อไปนี้
                               
1                  ถูกต้อง (ACCURATE)
2                  ทันเวลา (TIMELINESS)
3                  สอดคล้องกับงาน (RELEVANCE)

4                  สามารถตรวจสอบได้ (VERIFIABLE)
คุณสมบัติของ MIS ที่สำคัญมีดังนี้

                1.   ความสามารถในการจัดการข้อมูล
1.               (DATA MANIPULATION)
                2.   ความปลอดภัยของข้อมูล
2.               (DATA SECURITY)
3.   ความยืดหยุ่น (Flexibility)
4.  
ความพอใจของผู้ใช้
3.               (USER SATISFACTION)
บุคลากรในหน่วยงานสารสนเทศ มีหลายระดับดังนี้
1.               หัวหน้าพนักงานสารสนเทศ (CHIEF INFORMATION OFFICER)
2.               นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (SYSTEM ANALYSTAND DESIGNER)

3.    
ผู้เขียนชุดคำสั่ง (PROGRAMMER)

        3.1 ผู้เขียนชุคำสั่งระบบ (SYSTEM PROGRAMER)
               
        3.2 ผู้เขียนชุดคำสั่งสำหรับใช้งาน (APPLICATION PROGRAMMER)
4.    ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ (COMPUTER OPERATION)
       
5.     ผู้จัดตารางเวลา (SCHEDULER)
6.     พนักงานจัดเก็บและรักษา (LIBRARIAN)
7.     พนักงานจัดเตรียมข้อมูล (DATA ENTRY)



Why Develop an MIS?
Three phenomenon that trigger IS development
An opportunity (proactive)
A problem (reactive)
A directive
ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ลดความผิดพลาด (Error level) ที่เกิดจากความสะเพร่า เช่น การดูตัวเลขผิด การจดบันทึกข้อมูลสลับที่กัน หรือการหลงลืม เป็นต้น
- ลดการใช้แรงงานของมนุษย์
- ลดการสูญหายของข้อมูลที่อาจเกิดจากความผิดพลาดเช่น เก็บแฟ้มเอกสารผิดพลาด หาแฟ้มเอกสารไม่เจอ เป็นต้น
- ทำให้การทำงานเร็วขึ้น
- ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
เราสามารถแบ่งระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการออกตามหน้าที่งานในองค์การได้เป็น 4 ระบบคือ
1.   ระบบปฏิบัติการทางธุรกิจ (transaction processing system)

2.   ระบบจัดทำรายงานสำหรับการจัดการ (management reporting system)

3.   ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (decision supporting system)
4.ระบบสารสนเทศสำนักงาน (office information system)
ระบบปฏิบัติการทางธุรกิจ (Transaction Processing System: TPS)
ทำงานเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานภายในองค์การโดยใช้เครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์มาเป็นอุปกรณ์หลักของระบบ โดยระบบจะช่วยสนับสนุนให้การดำเนินงานในแต่ละวันขององค์การเป้นไปอย่างเรียบร้อยและเป็นระบบ
หน้าที่หลักของระบบ TPS
1.   การทำบัญชี (bookkeeping) ทำหน้าที่ในการเก็บบันทึกการปฏิบัติงานหรือเหตุการณ์ทางการบัญชีที่เกิดขึ้นในแต่ละวันขององค์การ เช่นการบันทึกรายการขายสินค้าในแต่ละวัน เป็นต้น
2.   การออกเอกสาร (document issuance) ทำหน้าที่เกี่ยวกับการออกเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในแต่ละวันขององค์การ เช่น การออกใบเสร็จรับเงิน เป็นต้น
3.   การทำรายงานควบคุม (control reporting) ทำหน้าที่เกี่ยวกับการออกเอกสารต่าง ๆ ที่มีผลมาจากการดำเนินงานขององค์การ เพื่อตรวจสอบและควบคุมการดำเนินงานขององค์การ เช่น การตรวจสอบการออกเช็คเงินเดือนของพนักงานแต่ละคน หรือ การมีทำรายงานประจำวัน เป็นต้น
วงจรการทำงานของระบบ TPS: เนื่องจาก TPS เป็นระบบที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อให้ทำงานตามรอบระยะเวลา จึงมีวงจรการทำงานดังต่อไปนี้
1.  การป้อนข้อมูล (data entry)
2.  การประมวลผล (transaction processing)
     Batch processing (แบบครั้งต่อครั้ง)
     Real-time processing (แบบตามเวลาที่เกิดขึ้นจริง)
                Batch Processing: transaction data are accumulated over a period of time and processed immediately after a transaction occurs.
Adv & DisAdv: economical method when large volumes of transaction data must be processed. It’s suited for many applications where it is not necessary to update databases as transactions occur, and where documents and reports are required only at scheduled intervals.
Master file are frequently out-of-date between scheduled processing and immediate updated responses to inquiries cannot be made.
Real-time Processing: allow transaction data to be processed immediately after they are generated and can provide immediate output to end users.
Advantage: immediate updating of databases and immediate responses to user inquiries. Important for applications where a high frequency of changes must be made to a file duirng a short time to keep it updated.
Disadvantage: because direct-access nature of real-time processing networks, special precautions must be taken to protect the contents of databases. More controls have to be built into the software and network procedures to protect against unauthorized access or the accidental destruction of data.
3.  การปรับปรุงฐานข้อมูล (file/database updating)
4.  ผลิตรายงานเอกสาร (document and reporting generation)
     เอกสารที่เกี่ยวกับสารสนเทศ (information document)
     เอกสารการปฏิบัติการ (action document)
     เอกสารหมุนเวียน (circulating document)
5.  การให้บริการสอบถาม (inquiring processing) เมื่อลูกค้าหรือผู้บริหารต้องการ เช่น ยอดบัญชีค้างชำระ เป็นต้น
ระบบย่อยของ TPS
ระบบจ่ายเงินเดือน (payroll processing system)

ระบบบันทึกคำสั่งซื้อสินค้า (order entry system)

ระบบสินค้าคงคลัง (inventory system)

ระบบใบกำกับสินค้า (invoicing system)

ระบบส่งสินค้า (shipping system)

ระบบบัญชีลูกหนี้ (account receivable system)

ระบบสั่งซื้อสินค้า (purchasing system)

ระบบรับสินค้า (receiving system)
Etc.
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ (Management Reporting System: MRS) ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ในการรวบรวมและประมวลผลข้อมูลสำหรับจัดทำเป็นรายงานเสนอต่อผู้จัดการเพื่อให้การตัดสินใจเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยระบบควรมีคุณสมบัติสำคัญคือ ต้องสามารถสนับสนุนการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ, ตรงต่อเวลา, มีรูปแบบที่แน่นอน เป็นต้น
ความแตกต่างระหว่างรายงานที่ออกโดย TPS และรายงานที่ออกโดย MRS

รายงานที่ออกโดย TPS จะใช้เพื่อการควบคุมการปฏิบัติงานในแต่ละวันในองค์การ
รายงานที่ออกโดย MRS จะมีวัตถุประสงค์สำหรับสนับสนุนการบริหารและการจัดการของผู้บริหาร
ประเภทของรายงาน
1. รายงานที่ออกตามตาราง (schedule report)
2. รายงานที่ออกในกรณีพิเศษ (exception report)
3. รายงานที่ออกตามความต้องการ (demand report)
4. รายงานที่ออกเพื่อพยากรณ์ (predictive report)
คุณสมบัติของสารสนเทศที่ใช้ใน MRS
ตรงประเด็น (relevance)

ถูกต้อง (accuracy)

ถูกเวลา (timeliness)

สามารถพิสูจน์ได้ (verifiability)
ระบบสารสนเทศสำหรับสำนักงาน (office information system) เพื่อใช้ในการเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานในสำนักงาน โดยต้องการอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานและการติดต่อสื่อสารระหว่างพนักงานภายในหน่วยงานหรือองค์การเดียวกัน โดยเราสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภทย่อยๆ  ดังนี้
ระบบจัดเก็บเอกสาร (document management system)
Word processing
Repropaphics
Desktop publishing
Image processing
Archival storage


ระบบควบคุมและส่งผ่านข่าวสาร (message-handing system)
Facsimile
Electronic mail
Voice mail

ระบบประชุมทางไกล (teleconferencing)
Video teleconferencing
Audio teleconferencing
Computer conferencing
In-house television
telecommuting
ระบบสนับสนุนการดำเนินงานในสำนักงาน
Groupware
Desktop organizers
Computer aid design: CAD
Presentation graphics
In-house electronic bulletin board
การพัฒนาระบบสารสนเทศเป็นกระบวนการที่ใช้เทคนิคการศึกษา การวิเคราะห์ และการออกแบบระบบสารสนเทศขององค์การให้สามารถดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยบางครั้งจะเรียกวิธีการดำเนินงานลักษณะนี้ว่า การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (system analysis and design)
System user: ผู้ใช้ระบบ
คือผู้ที่ควบคุมและดูแลระบบสารสนเทศขององค์การหรือเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานกับระบบสารสนเทศ ผู้ใช้จะเป็นบุคคลที่ใช้งานและปฏิสัมพันธ์กับระบบสารสนเทศโดยตรง เช่น จัดเก็บ ปรับปรุง ประมวลผลข้อมูล และนำข้อมูลมาใช้งาน เป็นต้น
ผู้ใช้ระบบควรมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาระบบสารสนเทศตั้งแต่เริ่มต้นพัฒนา หรือเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของทีมงานผู้พัฒนาระบบ
ผู้ใช้ในฐานะผู้มีประสบการณ์ตรง (firsthand experience) กับระบบงานจะต้องให้ข้อมูลสำคัญแก่ทีมงานดังต่อไปนี้
สารสนเทศที่องค์การหรือหน่วยงานต้องการ
ข้อบกพร่องของระบบเดิม ความไม่พอใจในระบบเดิม
ผู้ใช้ระบบมีความต้องการให้ระบบใหม่มีรูปแบบและคุณลักษณะอย่างไร
ความต้องการ: ระบบปัจจุบันไม่สามารถตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของผู้ใช้ ทำให้ผู้ใช้ระบบไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการ
กลยุทธ์: ระบบปัจจุบันไม่สามารถสนับสนุนการดำเนินงานระดับกลยุทธ์ของธุรกิจ
เทคโนโลยี: ระบบปัจจุบันมีองค์ประกอบของเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสม
ความซับซ้อน: ระบบปัจจุบันมีขั้นตอนในการใช้งานยุ่งยากซับซ้อน
ความผิดพลาด: ระบบปัจจุบันดำเนินงานผิดพลาดบ่อยครั้ง
มาตรฐาน: ระบบปัจจุบันมีมาตรฐานต่ำ
ปัจจัยในการพัฒนาระบบ
ผู้ใช้ระบบ
การวางแผน
การทดสอบ
การจัดเก็บเอกสาร
การเตรียมความพร้อม
การตรวจสอบและประเมินผล
การบำรุงรักษา
อนาคต
นักวิเคราะห์ระบบ
System analyst: SA
บทบาทที่สำคัญของ SA
Consultant: ที่ปรึกษา ปรึกษาด้านการปรับระบบงานขององค์การ

Supporting expert: ผู้เชี่ยวชาญ โดยให้คำแนะนำด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตั้งแต่อุปกรณ์ ระบบ ชุดคำสั่ง

Change agent: ตัวแทนการเปลี่ยนแปลง โดยเตรียมความพร้อมของบุคลากรที่จะใช้งานระบบใหม่
ทีมงานพัฒนาระบบ
ทีมงานพัฒนาระบบ (system development team): กลุ่มบุคคลที่มีหน้าที่และความรับผิดชอบและมีส่วนเกี่ยวข้องในกระบวนการพัฒนาระบบ โดยมีบุคคลในทีมดังนี้
คณะกรรมการดำเนินงาน (steering committee) ตัดสินใจเกี่ยวกับการดำเนินงานของโครงการพัฒนาระบบ ตั้งแต่การกำหนดรูปแบบและวัตถุประสงค์ของระบบสารสนเทศ
ผู้จัดการระบบสารสนเทศ (MIS manager) ดูแลประสานงานในการวางแผนงานของโครงงานต่าง ๆ
ผู้จัดการโครงการ (project manager) รับผิดชอบในการวางแผน การจัดการ และควบคุมให้งานในแต่ละโครงการดำเนินไปได้อย่างราบรื่น
นักวิเคราะห์ระบบ (system analyst) วิเคราะห์ความต้องการ และการออกแบบพัฒนาระบบ
นักเขียนโปรแกรม (programmer) พัฒนาชุดคำสั่งการดำเนินงานให้กับระบบที่กำลังพัฒนา
นักเขียนโปรแกรมเจ้าหน้าที่รวบรวมข้อมูล (information center personnel) ช่วยเหลือนักวิเคราะห์ระบบและนักเขียนโปรแกรมในการพัฒนาระบบในส่วนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลต่าง ๆ
ผู้ใช้และผู้จัดการทั่วไป (user and general manager) ให้ข้อมูลที่เกี่ยวกับปํยหาที่เกิดขึ้นในระบบงานเดิม และกำหนดความต้องการใหม่แก่ทีมงานพัฒนาระบบ
วิธีพื้นฐานในการพัฒนาระบบ
Ad hoc approach
แก้ปัญหาในงานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งต้องดำเนินการอย่างรวดเร็ว โดยการดำเนินการจะไม่คำนึงถึงงานหรือปัญหาอื่น ๆ ที่เกิดขึ้น

Database approach
ผู้ใช้ให้ความสำคัญกับการพัฒนาข้อมูลเพื่อให้สามารถรวบรวม จัดเก็บ และประมวลผลข้อมูลได้อย่างเป็นระบบ ซึ่งง่ายต่อการเรียกข้อมูลกลับมาใช้
Bottom-up approach
พัฒนาระบบสารสนเทศจากระบบเดิมที่มีอยู่ภายในองค์การไปสู่ระบบใหม่ที่ต้องการ โดยที่ทีมงานพัฒนาระบบจะทำการตรวจสอบว่าสิ่งใดที่มีอยู่แล้วในปัจจุบัน ซึ่งจะสามารถนำมาพัฒนาหรือเพิ่มเติมเทคโนโลยีบางอย่าง

Top-down approach
เป็นวิธีการพัฒนาระบบจากนโยบายหรือความต้องการของผู้บริหารระดับสูง โดยไม่คำนึงถึงระบบที่มีอยู่ในปัจจุบันขององค์การ
ขั้นตอนในการพัฒนาระบบสารสนเทศ(SDLC)
SYSTEM DEVELOPMENT LIFE CYCLE: SDLC
Preliminary investigation: การสำรวจเบื้องต้น

Requirement analysis: การวิเคราะห์ความต้องการ

System design: การออกแบบระบบ

System acquisition: การจัดหาอุปกรณ์ของระบบ

System implementation and maintenance: การติดตั้งระบบและการบำรุงรักษา
Preliminary investigation:
Determine whether a business problem or opportunity exists
Conduct a feasibility study to determine whether a new or improved information system is a feasible solution
Develop a project management plan and obtain management approval
Product: feasibility study
Feasibility study(การศึกษาความเป็นไปได้):
“a preliminary study which investigates the information and feasibility of a proposed project”

การศึกษาข้อมูลเบื้องต้นเพื่อหาความเป็นไปได้ของโครงการที่คิดจะทำ

มีหลายมุมเช่น organizational feasibility, economic feasibility, technical feasibility, operational feasibility
ขั้นตอนในการพัฒนาระบบสารสนเทศ(SDLC)
ความเป็นได้ทางองค์การ
ระบบใหม่จะสองคล้องกับกลยุทธ์ขององค์การหรือไม่?
ความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจ
                ประหยัด?
                เพิ่มรายได้?
                ทำกำไรเพิ่ม?
ความเป็นไปได้ทางเทคนิค
                อุปกรณ์ต่าง ๆ มั่นคงหรือไม่ มีให้ใช้หรือไม่
ความเป็นไปได้ทางการทำงาน
                คนใช้งานจะใช้หรือไม่?
                ผู้บริหารเห็นด้วย?
Requirement analysis:
Analyze the information needs of end users, the organizational environment, and any system presently used.
Develop the functional requirements of a system that can meet the needs of end users
Product: functional requirements
System design:
Develop specifications for the hardware, software, people, network, and data resources, and the information products that will satisfy the functional requirements of the proposed system
Product: system specifications
System acquisition (or systems implementation):
Acquire (or develop) hardware and software
Test the system, and train people to operate and use it
Convert to the new system
Product: operational system
System maintenance:
Use a post implementation review process to monitor, evaluate, and modify the system as needed
Product: improved system
อย่างไรก็ตามการพัฒนาระบบสารสนเทศในแต่ละขั้นตอนนั้นเกี่ยวข้องกันอย่างมาก จึงพบเห็นโดยทั่วไปว่าการทำงานในแต่ละขั้นตอนคาบเกี่ยวกันหรือทำพร้อมกันในบางเวลา
Decision Support System
Decision Making in Business
Organization’s success depends on quality of managers’ decisions
When decisions involve large amounts of information and processing, computer-based systems can make the process effective and efficient.
The Decision-Making Process
Three decision-making phases
nIntelligence
Design
Choice
The Decision-Making Process






สรุป


การปรับปรุงของระบบเศรษฐกิจ
(TRANSFORMATION OF ECONOMIES SYSTEM)
             ระบบเศรษฐกิจที่อาศัยฐานความรู้และสารสนเทศ

              การแข่งขันที่รวดเร็ว

             วงจรชีวิตผลิภัณฑ์และบริการสั้นลง

             ผลิตภัณฑ์และบริการใหม่

             ข้อจำกัดด้านความรู้ของบุคลากร


MIS ระบบที่รวบรวมและจัดเก็บข้อมูลตามแหล่งข้อมูลต่างๆ ทั้งภายใน และภายนอกองค์การอย่างมีหลักเกณฑ์ เพื่อนำมาประมวลผล และจัดรูปแบบให้ได้สารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการทำงานและการตัดสินใจในด้านต่างๆ ของผู้บริหาร
MIS ประกอบด้วยหน้าที่หลัก 2 ประการ ดังนี้
               
1. สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ทั้งจากภายในและภายนอกองค์การมาไว้ด้วยกันอย่างเป็นระบบ
               
2. สามารถทำการประมวลผลข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ช่วย
สนับสนุนการปฏิบัติงาน และการบริหารงานของผู้บริหาร


ส่วนประกอบของ MIS ที่มีความสำคัญต่อธุรกิจ
1. เครื่องมือในการสร้าง MIS --> โดยจำแนกเครื่องมือในการสร้างระบบสารสนเทศออกเป็น 2 ส่วนดังนี้

ฐานข้อมูล (DATABASE)
เครื่องมือ (TOOLS)
อุปกรณ์ (HARDWARE)
ชุดคำสั่ง (SOFTWARE)


2.  วิธีการหรือขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล

3.  การแสดงผลลัพธ์


ประโยชน์ของ MIS
1.               ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศได้รวดเร็ว
2.               ช่วยให้ผู้ใช้สามารถกำหนดเป้าหมายกลยุทธ์+การวางแผน

3.               ช่วยให้ผู้ใช้สามารถตรวจสอบผลการดำเนินงาน

4.               ช่วยให้ผู้ใช้สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรืออุปสรรค

5.               ช่วยลดค่าใช้จ่าย